มัสยิดมานารุลฮูดา (ลำอ้ายแบน)
มัสยิดมานารุลฮูดา (ลำอ้ายแบน)
ทะเบียนเลขที่ | 91 | วันที่จดทะเบียน | 6 มีนาคม 2499 |
บ้านเลขที่ | - | หมู่ที่ | - |
หมู่บ้าน/ชุมชน | - | ซอย | ขุมทอง-ลำต้อยติ่ง 5 |
ถนน | ขุมทอง-ลำต้อยติ่ง | แขวง | ขุมทอง |
เขต | ลาดกระบัง | จังหวัด | กรุงเทพมหานคร |
รหัสไปรษณีย์ | 10520 | เขตรับผิดชอบ | มัสยิดเขต 4 |
ประวัติความเป็นมาของ มัสยิดมานารุลฮูดา (ลำอ้ายแบน)
มัสยิดมานารุลฮูดา |
||||
|
||||
ที่ตั้ง |
เลขที่ 91 หมู่ 5
ซอยขุมทอง – ลำต้อยติ่ง ถนนขุมทอง – ลำต้อยติ่ง แขวงขุมทอง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 |
|||
เลขหมายทะเบียน |
91 |
|||
วัน/เดือน/ปี
ที่รับจดทะเบียน |
06 มีนาคม
2499 |
|||
ผู้ขอจดทะเบียน |
1.นายหมัด บุญธรรม |
ตำแหน่งอิหม่าม |
||
2.นายกีหลาบ นุชนาบี |
ตำแหน่งคอเต็บ |
|||
3.นายเซ็น โต๊ะมิ |
ตำแหน่งบิหลั่น |
|||
ประวัติความเป็นมา |
ประวัติมัสยิดมานารุลฮูดา
ได้ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2494 โดยอัลมัรฮูมกีเซ็ม ขำวิไล ได้บริจาคที่ดินจำนวน 4
ไร่ ให้กับมัสยิด ต่อมาที่ดินมัสยิดเปลี่ยนผู้ครอบครองมาเป็นฮัจยีสะหาก
ขำวิไล และได้โอนให้อิหม่ามหมัด บุญธรรม
เดิมชุมชนคลองอ้ายแบน ได้มีมุสลิมอพยพมาจากถิ่นอื่นประมาณ 10
ครอบครัว เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2490 ต่อมาได้สร้างบาแลและเป็นที่ประกอบศาสนกิจ
โดยสร้างเป็นอาคารไม้ หลังคามุงจาก ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2500 ต่วนหมัด
ได้บริจาคไม้เพื่อสร้างเป็นมัสยิดหลังใหม่ โดยสร้างเป็นอาคารไม้ชั้นเดียวยกพื้นสูง
หลังคามุงสังกะสี โดยมีบาแล ใช้เป็นที่เรียนอัลกุรอาน
และเรียนสามัญของโรงเรียนขุมทอง (เพชรทองคำอุปถัมภ์) ต่อมาประมาณปี 2508
สามัญได้แยกไปใช้อาคารของโรงเรียนหลังใหม่แต่การเรียนศาสนายังคงใช้บาแลเป็นที่เรียนต่อไป
จนถึงปี พ.ศ. 2519
อาคารได้ทรุดโทรมทางสัปปุรุษได้รื้ออาคารออกแล้วสร้างอาคารหลังปัจจุบันแล้วเสร็จเมื่อปี
พ.ศ. 2522 และ ปี พ.ศ. 2538 ได้รับบริจาคอาคารเรียน (ไม้) จากครูโซ๊ะ
จากคลองกะจะมา
และทางสัปปุรุษได้ร่วมกันบริจาคเงินเพิ่มเติมเพื่อเป็นอาคารเรียนสอนศาสนาในขณะนั้นใช้เป็นที่การเรียนการสอนอัลกุรอาน
และฟัรดูอีน มีครูสอน 3 คน
การจดทะเบียนจัดตั้งมัสยิดจดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2499
ทะเบียนเลขที่ 91 ที่ตั้งในขณะนั้น หมู่ 8 ตำบลทับยาว กิ่งอำเภอลาดกระบัง
จังหวัดพระนคร |
1. นายหมัด บุญธรรม |
พ.ศ 2499 – 20 มกราคม 2552 |
2. นายบุคอรีย์ อยู่บำรุง |
พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน |
1. นายกีหลาบ นุชนาบี |
พ.ศ. 2499
– 26 สิงหาคม 2549 |
2. นายธาราทร นุชนาบี |
พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน |
1. นายเซ็น โต๊ะมิ |
พ.ศ. 2499 |
2. นายหมัด หม่ำยะลี |
พ.ศ. เดิม |
3. นายฟี ขำวิไล |
พ.ศ. 2532 – 28 มิถุนายน 2552 |
4. นายหวังซัน
บุญธรรม |
พ.ศ 2553 – 9 มิถุนายน 2556 |
1. นายเหลี่ยม
มิตรสมัคร |
7. นายสมชาย ฉิมหิรัญ |
2. นายสมัย มิตรยิ้ม |
8. นายสุรสิทธิ์ จิ๊เอี่ยม |
3. นายอารีฟีน
บุตรน้ำเพชร |
9. นายสมชาย หม่ำยะลี |
4. นายนรินทร์ เสาธงใหญ่ |
10. นายหมัด ขำวิไล |
5. นายฉัตรชัย นุชนาบี |
11. นายอาทร ขำวิไล |
6. นายวินัย
นุชนาบี |
12. นายดารุณี มิดำ |
1. นายเหลี่ยม มิตรสมัตร |
7. นายหมัด ขำวิไล |
2. นายอารีฟีน
บุตรน้ำเพชร |
8. นายสมชาย หม่ำยะลี |
3. นายอุดม ขำวิไล |
9. นายบุคอรีย์ อยู่บำรุง |
4. นายสมัย มิตรยิ้ม |
10. นายฉัตรชัย นุชนาบี |
5. นายอาทร ขำวิไล |
11. นายวินัย นุชนาบี |
6. นายนรินทร์ เสาธงใหญ่ |
12. นายสุรสิทธิ์ จิ๊เอี่ยม |
1. นายชลอ ขำวิไล |
7. นายชาลี นุชนาบี |
2. นายนรินทร์
เสาธงใหญ่ |
8. นายทองใบ นุขนาบี |
3. นายสุรสิทธิ์ จิ๊เอี่ยม |
9. นายวินัย หม่ำยะลี |
4. นายทายาท สายใยทอง |
10. นายหมัด ขำวิไล |
5. นายทองคำ นุชนาบี |
11. นายมนตรี นุชนาบี |
6. นายชำนาญ ใช้ไฉยา |
12. นายสะหาก
ขำวิลัย |
ข้อมูลสัปปุรุษประจำ มัสยิดมานารุลฮูดา (ลำอ้ายแบน)
ปัจจุบันมีสัปปุรุษทั้งหมด 136 ครอบครัว จำนวน 782 คน ประกอบด้วย
สัปปุรุษทั้งหมดทุกช่วงอายุ | |
- เพศชาย | 396 คน |
- เพศหญิง | 386 คน |
- รวม | 782 คน |
สัปปุรุษอายุต่ำกว่า 15 ปี | |
- เพศชาย | 21 คน |
- เพศหญิง | 15 คน |
- รวม | 36 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป | |
- เพศชาย | 375 คน |
- เพศหญิง | 371 คน |
- รวม | 746 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 15 - 59 ปี | |
- เพศชาย | 310 คน |
- เพศหญิง | 297 คน |
- รวม | 607 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป | |
- เพศชาย | 65 คน |
- เพศหญิง | 74 คน |
- รวม | 139 คน |