มัสยิดอินโดนีเซีย
มัสยิดอินโดนีเซีย
ทะเบียนเลขที่ | 85 | วันที่จดทะเบียน | 1 มกราคม 2513 |
บ้านเลขที่ | 73/1 | หมู่ที่ | - |
หมู่บ้าน/ชุมชน | - | ซอย | สนามคลี |
ถนน | วิทยุ | แขวง | ลุมพินี |
เขต | ปทุมวัน | จังหวัด | กรุงเทพมหานคร |
รหัสไปรษณีย์ | 10330 | เขตรับผิดชอบ | มัสยิดเขต 1 |
ประวัติความเป็นมาของ มัสยิดอินโดนีเซีย
มัสยิดอินโดนิเซีย |
||||
|
||||
ที่ตั้ง |
เลขที่ 73/1 ซอยโปโล 5
ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร 10330 |
|||
เลขหมายทะเบียน |
85 |
|||
วัน/เดือน/ปี
ที่รับจดทะเบียน |
29 ตุลาคม
2596 |
|||
ผู้ขอจดทะเบียน |
1.นายฮายี สาและฮ์ |
ตำแหน่งอิหม่าม |
||
2.นายสุเทพ นันทเดช |
ตำแหน่งคอเต็บ |
|||
3.นายอาลี บินฮายีโนร์ |
ตำแหน่งบิหลั่น |
|||
ประวัติความเป็นมา |
เมื่อ 100 ปีกว่ามานี้มุสลิมชาวยวาหรือชวาชนชาติชนชาติเชื้อสายจากประเทศอินโดนิเซียได้ย้ายภูมิลำเนาเดิมบางส่วนมาอาศัยพักพิงในประเทศไทยรุ่นแรกรวมกลุ่มพักอาศัยที่บริเวณตรอกโรงน้ำแข็งอำเภอบางรักกรุงเทพมหานครรุ่นสองมารวมกลุ่มตั้งรกรากที่ซอยโปโลเกลียดปทุมวันกรุงเทพมหานคร(ตำบลปทุมวันตอนริมคลองเตย) กระจายอาศัยอยู่ตามแหล่งชุมชนซอยรางน้ำบ่อนไก่สะพานหัวช้างสะพานไม้ห้างคอนแวนต์ซึ่งแต่ละครอบครัวมีอาชีพค้าขายทำสวนขับรถเป็นต้นแต่จากแรงศรัทธาต่อเอกองค์ อัลเลาะห์ (ซ.บ.) โดยอีหม่าม อัลมัรฮูมฮัจยีซาและห์ ได้แบ่งที่ดินเช่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ตามแปลงหมายเลข 19 ก. เนื้อที่ทางทิศเหนือ 10.65 เมตรทิศใต้ 10.30 เมตรทิศตะวันออก 13.20 เมตรและทิศตะวันตก 13.20 เมตรรวมที่ดิน 49 ตารางวาด้วยความร่วมมือร่วมใจกันบริจาคเงินและงานก่อสร้างมัสยิดเป็นอาคารไม้สองชั้นเมื่อปีพ.ศ. 2492 อีหม่ามฮัจยีอาลี บินนรุและคณะกรรมการ ทำเรื่องโอนสิทธิ์เลขที่ทะเบียนบ้านต่อสำนักงานส่วนทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ และหน่วยงานราชการต่างๆรวมทั้งนำเรื่องขอตั้งชื่อกับสถานทูตอินโดนีเซียโดย ฯพณฯ พูดอนุมัติตั้งชื่อมัสยิดอินโดนิเซียตามความเป็นจริงเพื่อชาติเดียวกัน(ตามทะเบียนเลขที่ 85 ของกรมศาสนา) จากการใช้งานทางศาสนกิจหรือสาธารณะชุมชนมีสภาพชำรุดสุดโทรมและมีการซ่อมแซมมาหลายครั้งให้คงสภาพใช้งานได้ตามสภาพประกอบกับพื้นที่มีความจำกัดนอกจากใช้ทำละหมาดชั้นล่าง จัดเป็นโรงเรียนสอนศาสนาและที่เก็บเครื่องใช้ต่างๆอีกทั้งบริเวณโดยรอบใกล้เคียงมัสยิด จะมีชาวต่างชาตินักท่องเที่ยวนักธุรกิจเข้ามาใช้ทำศาสนกิจเป็นจำนวนมาก |
1. นายฮายี สาและฮ์ |
พ.ศ 2496 |
2. นายอาลี บินนุร |
พ.ศ. 2525 |
3. นายวิสิทธิ์
บินซำซี |
พ.ศ. 2536 |
4. นายสมพร นัยเนตร |
พ.ศ. 2539 – 3 สิงหาคม
2554 |
5.
(ว่าง) |
ปัจจุบัน |
1. นายสุเทพ นันทเดช |
พ.ศ. 2496 |
2. นายสง่า มินมูซา |
พ.ศ. 2525 |
3. นายมัดราวี บินสมาน |
พ.ศ. 2536 |
4. นายวินัย นัยเนตร |
พ.ศ. 2540 – 3 สิงหาคม 2554 |
6. (ว่าง) |
ปัจจุบัน |
1. นายอาลี บินฮายีโนร์ |
พ.ศ. 2496 |
2. นายอาบูละกา ดายิ |
พ.ศ. 2525 – 10 กันยายน 2531 |
3. นายอารีย์ บินสมาน |
พ.ศ. 2536 – 3 สิงหาคม 2554 |
4. (ว่าง) |
ปัจจุบัน |
1. นายกวิน บินหะซัน |
7. นายอณุโรจน์
กามิด |
2. นายสมศักดิ์ เตวิทย์ |
8. นายสมหมาย เจ๊ะเต๊ะ |
3. นายบำรุงศักดิ์ กามิด |
9. นายปัญญา เจริญร่าง |
4. นายอารี ดายิ |
10. นางกาหลง กามิด |
5. นายมานิต บนซามิน |
11. นางสมรัก บินอุมาร์ |
6. นายสมาน มุสรีเกน |
12. นางสาววัชรินทร์ กามิด |
1. นายกวิน บินหะซัน |
7. นายอารี ดายิ |
2. นายสมศักดิ์
เตวิทย์ |
8. นายประเสริฐ มุสรีเกน |
3. นายอาณา เอชเอ |
9. นายมานิต บนซามิน |
4. นายบำรุงศักดิ์ กามิด |
10.
นางกาหลง กามิด |
5. นายสมาน มุสรีเกน |
11.
นางสมรัก บินอุมาร์ |
6. นายสมหมาย เจ๊ะเต๊ะ |
12.
นางสาววัชรินทร์ กามิด |
1. นายอาณา เอชเอ |
7. นายกวิน บินหะซัน |
2. นายสมหมาย เจ๊ะเต๊ะ |
8. นายสมศักดิ์ เตวิทย์ |
3. นายอารี ดายิ |
9. นายบำรุงศักดิ์ กามิด |
4. นายสมาน มุสรีเกน |
10. นายมานิต บนซามิน |
5. นายประเสริฐ มุสรีเกน |
11. นางสาววัชรินทร์ กามิด |
6. นางกาญจนาพร บินจาซ |
12. นางสมลักษณ์
บินกรีเมน |
ข้อมูลสัปปุรุษประจำ มัสยิดอินโดนีเซีย
ปัจจุบันมีสัปปุรุษทั้งหมด 88 ครอบครัว จำนวน 432 คน ประกอบด้วย
สัปปุรุษทั้งหมดทุกช่วงอายุ | |
- เพศชาย | 197 คน |
- เพศหญิง | 235 คน |
- รวม | 432 คน |
สัปปุรุษอายุต่ำกว่า 15 ปี | |
- เพศชาย | 2 คน |
- เพศหญิง | 1 คน |
- รวม | 3 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป | |
- เพศชาย | 195 คน |
- เพศหญิง | 234 คน |
- รวม | 429 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 15 - 59 ปี | |
- เพศชาย | 124 คน |
- เพศหญิง | 130 คน |
- รวม | 254 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป | |
- เพศชาย | 71 คน |
- เพศหญิง | 104 คน |
- รวม | 175 คน |