มัสยิดอัสสละพียะฮ์ (อ.ฟ.(ถนนตก))
มัสยิดอัสสละพียะฮ์ (อ.ฟ.(ถนนตก))
ทะเบียนเลขที่ | 90 | วันที่จดทะเบียน | 20 กุมภาพันธ์ 2499 |
บ้านเลขที่ | 2827 | หมู่ที่ | - |
หมู่บ้าน/ชุมชน | - | ซอย | - |
ถนน | เจริญกรุง | แขวง | บางคอแหลม |
เขต | บางคอแหลม | จังหวัด | กรุงเทพมหานคร |
รหัสไปรษณีย์ | 10120 | เขตรับผิดชอบ | มัสยิดเขต 1 |
-
งานวันเด็ก ประจำปี 2560
คำขวัญวันเด็ก ปี 2560 "เด็กไทย ใส่ใจศึกษา พาชาติมั่นคง" ความสามัคคีเกิดขึ้นได้ ถ้ารวมพลังเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ใต้คำว่า "ทำงานเป็นทีม" ... อ่านต่อเพิ่มเติม » -
ธนาคารกุรบาน
-
เรียนภาษาอังกฤษโดยครูต่างชาติฟรี
ประวัติความเป็นมาของ มัสยิดอัสสละพียะฮ์ (อ.ฟ.(ถนนตก))
มัสยิดอัสสละฟียะฮ์ |
||||
|
||||
ที่ตั้ง |
เลขที่ 2827
ถนนเจริญกรุง แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120 |
|||
เลขหมายทะเบียน |
90 |
|||
วัน/เดือน/ปี
ที่รับจดทะเบียน |
20 กุมภาพันธ์ 2499 |
|||
ผู้ขอจดทะเบียน |
1.นายยุทธ
(หะยีมัสอู๊ด) มั่นใจอารย์ |
ตำแหน่งอิหม่าม |
||
2.นายสนิท เจตนาดี |
ตำแหน่งคอเต็บ |
|||
3.นายเต็น สาโรวาท |
ตำแหน่งบิหลั่น |
|||
ประวัติความเป็นมา |
|
1. นายยุทธ
(หะยีมัสอู๊ด) มั่นใจอารย์ |
พ.ศ 2499 |
2. นายทวี ฟินดี้ |
พ.ศ. 2516 – 8 ตุลาคม 2547 |
3. นายการิม พันธ์สอาด |
พ.ศ. 2547 – 2559 |
4. นายวรพันธุ์ แสงมาน | พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน |
1. นายสนิท เจตนาดี |
พ.ศ. 2499 |
2. นายปรีชา หร่ายมณี |
พ.ศ. 2527 |
3. นายอิ๊บ พันธ์สอาด |
พ.ศ. 2532
|
4. นายการิม พันธ์สอาด |
พ.ศ. 2539 – 10 มีนาคม 2547 |
5.
นายวรพันธุ์ แสงมาน |
พ.ศ. 2547 – 2560 |
6. นายปรีดา หร่ายมณี | พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน |
1. นายเต็น สาโรวาท |
พ.ศ. 2499 |
2. นายดอเลาะ โต๊ะดำ |
พ.ศ. 2539 – 11 สิงหาคม
2555 |
3. นายอุดม แสงมาน |
พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน |
1. นายสุนทร
แดงบุหงา |
6. นายปรีดา หร่ายมณี |
2. นายอุดม แสงมาน |
7. นายกิตติ สาโรวาท |
3. นายวิบูลย์
เหมะศิริ |
8. นายวิชัย พ่อทอง |
4. นายลิขิต สาโรวาท |
9. นางวัลลา รัตนเสวก |
5. นายภูวดล
กำมณีเด่น |
10. นางสาวพจณิชา แท่งพวงทอง |
1. นายชู บินกาซีเมน |
7. นายลิขิต สาโรวาท |
2. นายไพบูลย์ วิเศษรัตน์ |
8. นายสาธิต นามดี |
3. นายกิตติ สาโรวาท |
9. นายโสภณ ศรีประสาธน์ |
4. นายสุนทร
แดงบุหงา |
10. นายประทีป ไพทยะทัตย์ |
5. นายอุดม แสงมาน |
11. นายอุดม แสงมาน |
6. นายปรีดา หร่ายมณี |
12. นายชุติมา สาโรวาท |
1. นายมาฮัดดาร เจซาดาล |
7. นายกิตติ สาโรวาท |
2. นายอุดม
แสงมาน |
8. นายเสนอ ไพทยะทัต |
3. นายสุนทร แดงบุหงา |
9. นายณรงค์ เจริญทรัพย์ |
4.
นายประทีป ไพทยะทัตย์ |
10.
นายสาธิต นามดี |
5.
นายอัจฉริย สาโรวาท |
11. นายณรงค์
มั่นใจอารย์ |
6. นายอุดม แสงมาน |
12.
นายปรีดา หร่ายมณี |
ข้อมูลสัปปุรุษประจำ มัสยิดอัสสละพียะฮ์ (อ.ฟ.(ถนนตก))
ปัจจุบันมีสัปปุรุษทั้งหมด 466 ครอบครัว จำนวน 1,878 คน ประกอบด้วย
สัปปุรุษทั้งหมดทุกช่วงอายุ | |
- เพศชาย | 930 คน |
- เพศหญิง | 948 คน |
- รวม | 1,878 คน |
สัปปุรุษอายุต่ำกว่า 15 ปี | |
- เพศชาย | 54 คน |
- เพศหญิง | 52 คน |
- รวม | 106 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป | |
- เพศชาย | 876 คน |
- เพศหญิง | 896 คน |
- รวม | 1,772 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 15 - 59 ปี | |
- เพศชาย | 611 คน |
- เพศหญิง | 582 คน |
- รวม | 1,193 คน |
สัปปุรุษอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป | |
- เพศชาย | 265 คน |
- เพศหญิง | 314 คน |
- รวม | 579 คน |
ข้อมูลติดต่อ มัสยิดอัสสละพียะฮ์ (อ.ฟ.(ถนนตก))
โทรศัพท์ | 026881481 |
โทรสาร | 026881481 |
มือถือ | 08-9930-7355 |
อีเมล | Assalafiyahmosque@gmail.com |
เว็บไซต์ | - |
www.facebook.com/AssalafiyahMosque | |
- | |
Youtube | https://www.youtube.com/channel/UCLwwTOuZkLmGy6SUObBjWBw |
ข้อมูล สถานที่แนะนำ สถานที่ท่องเที่ยว มัสยิดอัสสละพียะฮ์ (อ.ฟ.(ถนนตก))
ข้อมูล สถานที่แนะนำ สถานที่ท่องเที่ยว
1.สะพานกรุงเทพ
สะพานกรุงเทพ (อังกฤษ: Krung Thep Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 3 ต่อจากสะพานพระราม 6 และสะพานพระพุทธยอดฟ้า ถือเป็นสะพานโยกเพียงแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ยังเปิด-ปิดได้อยู่ เชื่อมระหว่างบริเวณสี่แยกถนนตก เขตบางคอแหลมทางฝั่งพระนคร กับบริเวณสี่แยกบุคคโลในพื้นที่เขตธนบุรีทางฝั่งธนบุรี ใช้ในการคมนาคมทางบกข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและปิด-เปิด ให้เรือเข้าออก ลักษณะการก่อสร้างเป็นแบบคอนกรีตอัดแรง โดยวิธีการอิสระซึ่งยาวที่สุดในประเทศไทย มีช่องทางจราจร 4 ช่อง ความยาวสะพาน 350.80 เมตร ช่วงกลางน้ำยาว 226 เมตร เริ่มเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2502 ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท
ปัจจุบัน สะพานยังเปิด-ปิดเพื่อให้เรือสินค้าที่แล่นเข้าออกเป็นประจำผ่าน แต่เมื่อมีการเปิด-ปิดสะพาน ก็ต้องมีการปิดการจราจร ทำให้เกิดปัญหาจราจรติดขัดเป็นอันมาก อีกทั้งเป็นสะพานที่อายุกว่า 50 ปี ทำให้มีปัญหาด้านกลไกเปิด-ปิดสะพานอยู่บ่อยครั้ง รัฐบาลจึงทุ่มงบสร้างสะพานที่สูงพอให้เรือสินค้าแล่นผ่านได้เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจร สะพานนั้นคือ สะพานพระราม 3
2.เอเชียทีคเดอะริเวอร์ฟร้อนท์
เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ (อังกฤษ: Asiatique The Riverfront) เป็นศูนย์การค้าแนวราบริมแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ระหว่างซอยเจริญกรุง 72-76 บริหารงานโดย กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยรีเทล อินเวสเม้นต์โดย บริษัท แอสเสท เวิรด์ รีเทล จำกัด ภายในโครงการประกอบด้วยร้านค้า ร้านอาหารริมน้ำ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงละครคาลิปโซ่ที่ย้ายมาจากโรงแรมเอเชีย และโรงละครโจหลุยส์ที่ย้ายมาจากสวนลุมไนท์บาซาร์อีกด้วย
เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ เดิมเคยเป็นที่ตั้งของท่าเรือและบริษัท อีสต์เอเชียติก บริษัทเดินเรือสัญชาติเดนมาร์ก มาเปิดกิจการในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสร้างเป็นโกดัง โรงเลื่อย และนำเครื่องจักรขนาดใหญ่หลายตัวมาติดตั้งไว้ ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดท่าเรือและคลังสินค้าของบริษัท อีสต์เอเชียติก เพื่อใช้เป็นฐานกำลังและคลังแสง และยังปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน
กระทั่งในปี พ.ศ. 2555 ได้มีพัฒนาปรับปรุงเป็นศูนย์การค้าอย่างในปัจจุบัน ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและช้อปปิ้งที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม โดยมีจุดเด่น คือ ชิงช้าสวรรค์ขนาดใหญ่ "เอเชียทีค สกาย" ซึ่งเมื่อขึ้นไปแล้วจะเห็นทัศนียภาพโดยรอบของกรุงเทพมหานครในแบบมุมสูงได้รอบตัว
3.เส้นทางรถรางเก่า
หลายๆคนที่เคยผ่านถนนเจริญกรุงช่วงวัดมังกร จนถึงสามแยก หรือ แถวตลาดน้อย บนถนนคุณจะเห็นแนวรางของรถรางเก่า ซึ่งบางส่วนถูกปิดทับด้วย ยางมะตอยไปแล้ว แต่บางส่วนก็ยังเห็นอยู่ ซึ่งตอนเด็กก็ถามผู้ใหญ่ว่า รางเหล็กนี่คืออะไร ก็ได้คำตอบว่ารางของรถราง และถ้าย้อนรอยประวัติศาสตร์ดูจะพบว่ามีเส้นทางที่ผ่านด้านหน้ามัสยิดไปถึงถนนตก
4.ตลาดสดบางคอแหลม
ปัจจุบันตลาดสดแทบจะมีให้เห็นไม่มากนักถ้าไม่นับรวมตลาดใหญ่ๆอย่างเช่น ตลาดไทย ตลาดคลองเตยฯลฯ ปัจจุบัญแม้ว่าเศรษฐกิจและกระแสของผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปตลาดหลายๆแห่งเปลี่ยนเเป็นสถานที่ท่องเที่ยวหรือถูกทุบทิ้ง แต่ตลาดบางคอแหลมก็ยังคงสภาพตลาดไว้ทำให้ผู้คนที่สัญจรไปมาแวะซื้ออาหารและของสดต่างๆ
5.เอเอฟสตรีทอาร์ทมาเก็ต
เอเอฟสตรีทอาร์ทมาเก็ต หรือ อัสสลาฟียะฮ์ สตรีทอาร์ทมาร์เก็ต เปิดเวทีสำหรับเยาวชนที่ต้องการหาพื้นที่แสดงออก เนื่องด้วยมัสยิดได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการช่วยผลักดันพัฒนาศักยภาพเยาวชนในชุมชนให้มีความสามารถ และยังเป็นต้นแบบให้การช่วยเหลือพัฒนาเยาวชนตามมัสยิดต่างๆ มัสยิดอัสสละฟียะฮ์จึงเป็นศูนย์รวมของกลุ่มองค์กรเยาวชมุสลิมเพื่อใช้เป็นสถานที่ประชุม จัดกิจกรรม รวมไปถึงทำค่ายอบรม แต่ก็ยังมีอีกมากที่ยังไม่มีโอกาสหรือไม่มีพื้นที่แสดงออกจึงทำให้เยาวชนหันกลับเข้าไปสู่สังคมที่เรามองไม่เห็น มัสยิดจึงได้มีความเห็นสมควรที่จะมีพื้นที่ให้เยาวนสามารถที่จะพัฒนาตนเองและแสดงออก หรืออาจจะเป็นการหารายได้ด้วยตัวของเขาเองโดยที่อยู่ในการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด ปัจจุบันจะมีการเปิดเวทีทุกเดือน และมีกิจกรรมต่างๆอาทิเช่น การออกร้านไอเดีย การแสดงศิลปะและวัฒนธรรม การประชุมของกลุ่มนิสิตนักศึกษา การเรียนการสอนโดยเยาวชน และการจัดรายการวิทยุ รายการดิจิทัช