วันศุกร์ที่ 3 มกราคม 2568 03:42 น.
หน้าแรก >> ข่าวและกิจกรรมของ มัสยิดกุฎีหลวง (กุฎีเจ้าเซ็น)

ข่าวและกิจกรรมของ มัสยิดกุฎีหลวง (กุฎีเจ้าเซ็น)

ค้นหา ข่าวและกิจกรรมของ มัสยิดกุฎีหลวง (กุฎีเจ้าเซ็น)
หัวข้อเรื่อง:   
เนื้อหา :   

ลำดับพระยาจุฬาราชมนตรีแห่งแผ่นดินสยาม

ลำดับพระยาจุฬาราชมนตรีแห่งแผ่นดินสยาม

           ลำดับพระยาจุฬาราชมนตรีแห่งแผ่นดินสยาม กรุงศรีอยุธยา 1. เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉก อะห์หมัด) ดำรงตำแหน่ง จุฬาราชมนตรีในรัชสมัยแผ่นดินพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ.2145 - 2170) และต่อมาถึงรัชสมัยพระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ.2173-2198)                                                            2. พระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว) เป็นหลานตาของเจ้าพระยาบวรราชนายก ดำรงตำแหน่งจุฬาราชมนตรี ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ ... อ่านต่อเพิ่มเติม »

บทบาทของมุสลิมชีอะห์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

บทบาทของมุสลิมชีอะห์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

           บทบาทของมุสลิมชีอะห์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มุสลิมชีอะห์  ในความเข้าใจของคนส่วนใหญ่ก็จะนึกถึงภาพของกลุ่มชนที่มีวิถีชีวิต, การแต่งกาย, อาหารการกิน, การพูดจาการทักทาย ฯ ที่แตกต่างจากคนไทยทั่วไป บ้างก็ว่าเป็นกลุ่มชนมุสลิมที่เคร่งครัดศาสนาเป็นอย่างมาก เป็นกลุ่มชนที่มีการให้ความสำคัญและแสดงออกอย่างเปิดเผยในเรื่องพิธีกรรมทางศาสนา ฯลฯ เนื่องมาจากรูปลักษณ์ภายนอกที่คนทั่วไปนั้นได้สัมผัสและมองเห็น แต่ก็ยังมีเรื่องราวอีกม ... อ่านต่อเพิ่มเติม »

จากดินแดนเปอร์เซียสู่อ้อมกอดชาวสยาม เส้นทางแห่งอารยธรรม 2 แผ่นดิน

จากดินแดนเปอร์เซียสู่อ้อมกอดชาวสยาม เส้นทางแห่งอารยธรรม 2 แผ่นดิน

           จากดินแดนเปอร์เซียสู่อ้อมกอดชาวสยาม เส้นทางแห่งอารยธรรม 2 แผ่นดิน นับจากอดีตจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 400 กว่าปีแล้ว ที่เรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างสองประชาชาติที่เป็นต้นกำเนิด ของอารยธรรม วัฒนธรรมประเพณีอันเก่าแก่ล้ำค่าที่ร้อยเรียงเรื่องราวแห่งมิตรภาพ ความจงรักภักดี ความรัก ความซื่อสัตย์ ที่มี ต่อกันไว้ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้และสานต่อ ซึ่งความสัมพันธ์นี้ได้สร้างความแข็งแกร่งความเป็นปึกแผ่นให้กับแผ่นดินเกิดของ พวกเขาแ ... อ่านต่อเพิ่มเติม »

กุฎีหลวง หรือกุฎีเจ้าเซ็น : “กะดี” แรกของมุสลิมนิกายชีอะห์ในกรุงรัตนโกสินทร์

กุฎีหลวง หรือกุฎีเจ้าเซ็น : “กะดี” แรกของมุสลิมนิกายชีอะห์ในกรุงรัตนโกสินทร์

            กุฎีหลวง หรือกุฎีเจ้าเซ็น : “กะดี” แรกของมุสลิมนิกายชีอะห์ในกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัตนโกสินทร์ราวปี พ.ศ. 2328 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) โปรดเกล้าฯ ให้ขุนป้องพลขันธ์(ก้อนแก้ว)ขุนนางในกรุงธนบุรีที่สืบเชื้อสายแต่ออกญาบวรราชนายก(เฉกอหะหมัด) ชาวเปอร์เซียจากกรุงเก่าให้กลับเข้ารับราชการในตำแหน่ง พระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) พร้อมพระราชทานที่ดินให้ตั้งชุมชนและสร้างศาสนสถานของตนขึ้นเป็นครั้งแรกแล้ว  ... อ่านต่อเพิ่มเติม »

The Historical Background of Masjid Kudee Luang

The Historical Background of Masjid Kudee Luang

           The Historical Background of Masjid Kudee Luang           Circa 1785 (B.E. 2328) during the Rattanakosin period King Rama l (SomdetPhraBuddhayodphaChulalok the Great) ascended to the throne and ordered KhunPonhbholkhan (Khonkaew) of Persian lineage and a direct descendant of OkyaBovomrajanakok (Sheik Ahamad) to serve his court as Phraya Chularajamontri (Konkaew). King Rama l also granted to him a large area of land for the Moslem community to construct their own shrine to act as a place of worship.           This community, also known as Shit’ite Moslems, began to construct their own permanent places of worship on the western bank (Thonburi side) of the Chaophraya River. Both the constructions and religious rituals were placed under the patronage of King Rama l.           A few years thereafter the Moslem community became more consolidated as they continued their religious rituals. At the same time King Rama l created a new city known as Krungthep and He re-introduced the protocols and system of the Ayuthaya period. He also re-called those who had been high ranki ... อ่านต่อเพิ่มเติม »

Scroll To Top